บันทึกครั้งที่ 15
วันศุกร์ ที่21 กันยายน 2555
Language Experiences Management for Early Childhood
แฟ้มสะสมงานวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษา
วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่ 14
บันทึกครั้งที่ 14
วันศุกร์ ที่14 กันยายน 2555
อาจารย์ให้กลุ่มนักศึกษาที่ยังไม่ร้องเพลงออกไปร้องเพลงหน้าห้องให้ครบ ทุกกลุ่ม จากนั้นก็ให้นักศึกษาออกมาเล่านิทานตามที่ได้จับฉลากไป ระหว่างที่เล่าอาจารย์ก็บันทึกเป็นวิดีโอเก็บไว้เพื่อเป็นผลงานของนักศึกษา ส่วนกลุ่มดิฉันได้เล่านิทานแบบ เล่าไปพับไป
นิทานเล่าไปพับไป
นิทานเล่าไปวาดไป
บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
บันทึกครั้งที่ 13
วันที่ 7 กันยายน 2555
วันนี้อาจารย์แจกสีพร้อมกับแผ่นประดิษฐ์ต้วอักษรให้นักศึกษาคนละ 1 ชุด จากนั้นอาจารย์ได้สรุปเรื่องของภาษาของเด็กเริ่มต้นจากการสัมภาษณ์และ วิเคราะห์ทางภาษาของเด็ก อาจารย์ตัวอย่างสื่อที่ใช่ส่งเสริมทางภาษา ได้แก่ นิทาน เพลง คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย อาจารย์พูดถึงการจัดมุมประสบการณ์ทางภาษา เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ อาจารย์เน้นความสำคัญการส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้าน คือ การฟังคือฟังเทปฟังแผ่นเสียง การพูดคือให้เด้กเล่นหุ่นมือ การอ่านคือมีนิทานให้เด็กได้อ่าน การเขียนคือมีกระดาษเล็กๆใส่กล่องกับดินสอไว้ให้เด็กๆได้เขียนฝึกเขียน
เพิ่มเติม
สื่อการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษา
เนตรนภา ธรรมบวร กล่าวโดยสรุปถึงการเรียนรู้ทางภาษาของเด็กว่า การสอนภาษาแบบเดิมไม่เน้นความสำคัญของประสบการณ์ และภาษาที่เด็กใช่ในชีวิตประจำวัน แต่การสอนแบบธรรมชาติหรือแบบองค์รวมเป็นการสอนที่มีแนวความคิดว่า เด็กจะพยายามหาวีธีที่จะนำเสอนประสบการณ์ของตนผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ การสือสารในห้องเรียนที่มีการเรียนการสอน
วันที่ 7 กันยายน 2555
วันนี้อาจารย์แจกสีพร้อมกับแผ่นประดิษฐ์ต้วอักษรให้นักศึกษาคนละ 1 ชุด จากนั้นอาจารย์ได้สรุปเรื่องของภาษาของเด็กเริ่มต้นจากการสัมภาษณ์และ วิเคราะห์ทางภาษาของเด็ก อาจารย์ตัวอย่างสื่อที่ใช่ส่งเสริมทางภาษา ได้แก่ นิทาน เพลง คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย อาจารย์พูดถึงการจัดมุมประสบการณ์ทางภาษา เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ อาจารย์เน้นความสำคัญการส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้าน คือ การฟังคือฟังเทปฟังแผ่นเสียง การพูดคือให้เด้กเล่นหุ่นมือ การอ่านคือมีนิทานให้เด็กได้อ่าน การเขียนคือมีกระดาษเล็กๆใส่กล่องกับดินสอไว้ให้เด็กๆได้เขียนฝึกเขียน
เพิ่มเติม
สื่อการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษา
เนตรนภา ธรรมบวร กล่าวโดยสรุปถึงการเรียนรู้ทางภาษาของเด็กว่า การสอนภาษาแบบเดิมไม่เน้นความสำคัญของประสบการณ์ และภาษาที่เด็กใช่ในชีวิตประจำวัน แต่การสอนแบบธรรมชาติหรือแบบองค์รวมเป็นการสอนที่มีแนวความคิดว่า เด็กจะพยายามหาวีธีที่จะนำเสอนประสบการณ์ของตนผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ การสือสารในห้องเรียนที่มีการเรียนการสอน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
บันทึกครั้งที่12
วันศุกร์ ที่ 31 สิงหาคม 2555
วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอเพลงของนักศึกษาที่เตรียมมา
แล้วออกมาสอนเพื่อนๆหน้าห้องเรียน และอาจารย์ก็ได้บันทึกเป็นวิดีโอ
เก็บไว้ด้วย เพื่อเป็นผลงานของนักศึกษา
วันศุกร์ ที่ 31 สิงหาคม 2555
วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอเพลงของนักศึกษาที่เตรียมมา
แล้วออกมาสอนเพื่อนๆหน้าห้องเรียน และอาจารย์ก็ได้บันทึกเป็นวิดีโอ
เก็บไว้ด้วย เพื่อเป็นผลงานของนักศึกษา
บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
บันทึกครั้งที่11
วันที่ 24 สิงหาคคม 2555
วันนี้อาจารย์เปิดเพลงเกาะสมุยให้ฟัง แล้วให้นักศึกษาวิเคราะห์ว่าเนื้อหาในเพลงนั้นกล่าว
วันที่ 24 สิงหาคคม 2555
วันนี้อาจารย์เปิดเพลงเกาะสมุยให้ฟัง แล้วให้นักศึกษาวิเคราะห์ว่าเนื้อหาในเพลงนั้นกล่าว
ถึงอะไร วัตถุประสงค์ของเพลงคืออะไร และฟังแล้วรุ้สึกอย่างไร ?
อาจารย์ยกตัวอย่างการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้
เรื่องย่อ
อัลเฟรดเป็นช้างที่มีงวงยาวมากอัลเฟรดรู้สึกอายที่ตนเองมีงวงยาวกว่าช้างตัวอื่นๆ
เพลง เกาะสมุย
วรรณกรรมเป็นฐาน ในนิทานเรื่องช้างน้อยอัลเฟรด
เรื่องย่อ
อัลเฟรดเป็นช้างที่มีงวงยาวมากอัลเฟรดรู้สึกอายที่ตนเองมีงวงยาวกว่าช้างตัวอื่นๆ
จึงพยายามซ่อนงวงของตนวันหนึ่งอัลเฟรดได้ยินเสียงร้องขอความช่วยเหลือของเด็กผู้หญิง
คนหนึ่งที่ติดอยู่บนกระดานลื่น อัลเฟรดได้ใช้งวงช่วยเด็กผู้หญิงลงมาสัตว์อื่นๆพากันชื่นชม
อัลเฟรดตั้งแต่นั้นมาอัลเฟรดก็อยู่อย่างมีความสุขแม้ว่าตนเองจะไม่เหมือนใคร
เพลง ช้างน้อยอัลเฟรด
คำร้อง ครูหญิง
ทำนอง Ten little Indian boys
เจ้าอัลเฟรดน้อยมีงวงยาวที่ไม่เหมือนใคร
เดิน เดิน เดินไป เดิน เดินไป เพียงแค่ตัวเดียว
พยายามซ่อนงวง เก็บเอาไว้ ไว้ให้มิดเชียว
ฉันไม่อยากงวงยาวกว่าใคร
บนไม้ลื่นสูงมีเสียงใครร้องให้ช่วยอยู่
เดิน เดินไปดู เดินไปดู แล้วจะพบใคร
เด็กผู้หญิงคนหนึ่งติดอยู่บนไม้ลื่นสูงใหญ่
ฉันจะใช้งวงยาวช่วยเธอ
ช่วยเธอลงมาอย่างปลอดภัย
ได้ช่วยฉันก็เป็นสุขใจ
บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
เรียนชดเชยสัปดาห์ที่10
วันอาทิตย์ ที่ 19 สิงหาคม 2555
กิจกรรมในวันอาทิตย์
-ให้นักศึกษาเลือกเอาสิ่งของอะไรก็ได้ของตนเอง ที่ชอบที่สุดมาหนึ่งอย่าง
แล้วให้บอกเหตุผลด้วยว่าทำไมถึงชอบ
-ให้นักศึกษาเลือกสิ่งของที่มีอยู่ของตัวเองมาหนึ่งอย่าง แล้วให้โฆษณาของชิ้นนั้น
-ให้นักศึกษาวาดภาพสื่อออกมาแทนคำพูด ว่าภาพนั้นสื่อถึงคำว่าอะไร
-ให้นักศึกษาแต่ละคนวาดภาพตามความคิด แล้วให้นำภาพของแต่ละคนมาต่อกันเีรียงร้อยเป็นนิทานหนึ่งเรื่อง โดยให้เล่าตามภาพที่ตัวเองวาด
-แบ่งนักศึกษาออกเป็นสองกลุ่ม โดยให้กลุ่มแรกเป็นฝ่ายประชาสัมพันธ์ กลุ่มที่สองให้เป้นฝ่ายอ่านข่าว
-ให้บอกชื่อจริงของตนเอง พร้อมกับทำท่าประกอบชื่อ แล้วให้นักศึกษาบอกชื่อเพื่อนและทำท่าประกอบชื่อเพื่อนที่นั่งอยู่ทางขวามมือของตนเอง
บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
บันทึกครั้งที่ 9
วันที่ 17 สิงหาคม 2555
วันนี้อาจารย์ได้สั่งงาน อาจารย์ได้นำปฏิทินที่เป็นสื่อการ
เรียนการสอนมาให้ดูเพื่อที่จะมอบหมายงาน ให้นักศึกษาทำ
โดยให้นักศึกษานำปฏิทินที่ไม่ใช่แล้วมาประดิษฐ์เป็นสื่อให้เด็ก
วันที่ 17 สิงหาคม 2555
วันนี้อาจารย์ได้สั่งงาน อาจารย์ได้นำปฏิทินที่เป็นสื่อการ
เรียนการสอนมาให้ดูเพื่อที่จะมอบหมายงาน ให้นักศึกษาทำ
โดยให้นักศึกษานำปฏิทินที่ไม่ใช่แล้วมาประดิษฐ์เป็นสื่อให้เด็ก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)